22
ภาษาไทย
ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า
1.
ปลั๊กของเครื่องมือไฟฟ้าต้องพอดีกับเต้ารับ อย่า
ดัดแปลงปลั๊กไม่ว่ากรณีใดๆ อย่าใช้ปลั๊กอะแด็ปเตอร์
กับเครื่องมือไฟฟ้าที่ต่อสายดิน
ปลั๊กที่ไม่ถูกดัดแปลง
และเต้ารับที่เข้ากันพอดีจะช่วยลดความเสี่ยงของการ
เกิดไฟฟ้าช็อต
2.
ระวังอย่าให้ร่างกายสัมผัสกับพื้นผิวที่ต่อสายดิน เช่น
ท่อ เครื่องน�าความร้อน เตาหุงต้ม และตู้เย็น
มีความ
เสี่ยงที่จะเกิดไฟฟ้าช็อตสูงขึ้น หากร่างกายของคุณ
สัมผัสกับพื้น
3.
อย่าให้เครื่องมือไฟฟ้าถูกน�้าหรืออยู่ในสภาพเปียกชื้น
น�้าที่ไหลเข้าไปในเครื่องมือไฟฟ้าจะเพิ่มความเสี่ยง
ของการเกิดไฟฟ้าช็อต
4.
อย่าใช้สายไฟอย่างไม่เหมาะสม อย่าใช้สายไฟเพื่อ
ยก ดึง หรือถอดปลั๊กเครื่องมือไฟฟ้า เก็บสายไฟให้
ห่างจากความร้อน น�้ามัน ของมีคม หรือชิ้นส่วนที่
เคลื่อนที่
สายที่ช�ารุดหรือพันกันจะเพิ่มความเสี่ยงของ
การเกิดไฟฟ้าช็อต
5.
ขณะที่ใช้งานเครื่องมือไฟฟ้านอกอาคาร ควรใช้สาย
ต่อพ่วงที่เหมาะสมกับงานภายนอกอาคาร
การใช้สาย
ที่เหมาะสมกับงานภายนอกอาคารจะลดความเสี่ยง
ของการเกิดไฟฟ้าช็อต
6.
หากต้องใช้งานเครื่องมือไฟฟ้าในสถานที่เปียกชื้น ให้
ใช้อุปกรณ์ป้องกันกระแสไฟรั่ว (RCD)
การใช้ RCD
จะลดความเสี่ยงของการเกิดไฟฟ้าช็อต
7.
แนะน�าให้ใช้แหล่งจ่ายไฟผ่าน RCD ที่มีกระแสไฟรั่ว
ในอัตราไม่เกิน 30 mA เสมอ
ความปลอดภัยส่วนบุคคล
1.
ให้ระมัดระวังและมีสติอยู่เสมอขณะใช้งานเครื่องมือ
ไฟฟ้า อย่าใช้งานเครื่องมือไฟฟ้าในขณะที่คุณก�าลัง
เหนื่อย หรือในสภาพที่มึนเมาจากยาเสพติด เครื่อง
ดื่ม แอลกอฮอล์ หรือการใช้ยา
ชั่วขณะที่ขาดความ
ระมัดระวังเมื่อก�าลังใช้งานเครื่องมือไฟฟ้าอาจท�าให้ได้
รับบาดเจ็บร้ายแรง
2.
ใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมแว่นตาป้องกันเสมอ
อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากกันฝุ่น รองเท้านิรภัย
กันลื่น หมวกนิรภัย หรือเครื่องป้องกันการได้ยินที่ใช้
ในสภาพที่เหมาะสมจะช่วยลดการบาดเจ็บ
3.
ป้องกันไม่ให้เกิดการเปิดใช้งานโดยไม่ตั้งใจ ตรวจสอบ
ให้แน่ใจว่าสวิตช์ปิดอยู่ก่อนที่จะเชื่อมต่อกับแหล่งจ่าย
ไฟ และ/หรือชุดแบตเตอรี่ รวมทั้งตรวจสอบก่อนการ
ยกหรือเคลื่อนย้ายเครื่องมือ
การสอดนิ้วมือบริเวณ
สวิตช์เพื่อถือเครื่องมือไฟฟ้า หรือการชาร์จไฟเครื่อง
มือไฟฟ้าในขณะที่เปิดสวิตช์อยู่อาจน�าไปสู่การเกิด
อุบัติเหตุ
4.
น�ากุญแจปรับตั้งหรือประแจออกก่อนที่จะเปิดเครื่อง
มือไฟฟ้า
ประแจหรือกุญแจที่เสียบค้างอยู่ในชิ้นส่วนที่
หมุนได้ของเครื่องมือไฟฟ้าอาจท�าให้ได้รับบาดเจ็บ
5.
อย่าท�างานในระยะที่สุดเอื้อม จัดท่าการยืนและการ
ทรงตัวให้เหมาะสมตลอดเวลา
เพราะจะท�าให้ควบคุม
เครื่องมือไฟฟ้าได้ดีขึ้นในสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด
6.
แต่งกายให้เหมาะสม อย่าสวมเครื่องแต่งกายที่หลวม
เกินไป หรือสวมเครื่องประดับ ดูแลไม่ให้เส้นผม
เสื้อผ้า และถุงมืออยู่ใกล้ชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่
เสื้อผ้า
รุ่มร่าม เครื่องประดับ หรือผมที่มีความยาวอาจเข้าไป
ติดในชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่
7.
หากมีการจัดอุปกรณ์ส�าหรับดูดและจัดเก็บฝุ่นไว้ใน
สถานที่ ให้ตรวจสอบว่าได้เชื่อมต่อและใช้งานอุปกรณ์
นั้นอย่างเหมาะสม
การใช้เครื่องดูดและจัดเก็บฝุ่นจะ
ช่วยลดอันตรายที่เกิดจากฝุ่นผงได้
การใช้และดูแลเครื่องมือไฟฟ้า
1.
อย่าฝืนใช้เครื่องมือไฟฟ้า ใช้เครื่องมือไฟฟ้าที่เหมาะ
สมกับการใช้งานของคุณ
เครื่องมือไฟฟ้าที่เหมาะสม
จะท�าให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยกว่าตาม
ขีดความสามารถของเครื่องที่ได้รับการออกแบบมา
2.
อย่าใช้เครื่องมือไฟฟ้า หากสวิตช์ไม่สามารถเปิดปิด
ได้
เครื่องมือไฟฟ้าที่ควบคุมด้วยสวิตช์ไม่ได้เป็นสิ่ง
อันตรายและต้องได้รับการซ่อมแซม
3.
ถอดปลั๊กจากแหล่งจ่ายไฟ และ/หรือชุดแบตเตอรี่ออก
จากเครื่องมือไฟฟ้าก่อนท�าการปรับตั้ง เปลี่ยนอุปกรณ์
เสริม หรือจัดเก็บเครื่องมือไฟฟ้า
วิธีการป้องกันด้าน
ความปลอดภัยดังกล่าวจะช่วยลดความเสี่ยงของการ
เปิดใช้งานเครื่องมือไฟฟ้าอย่างไม่ตั้งใจ
4.
จัดเก็บเครื่องมือไฟฟ้าที่ไม่ได้ใช้งานให้ห่างจากมือ
เด็ก และอย่าอนุญาตให้บุคคลที่ไม่คุ้นเคยกับเครื่อง
มือไฟฟ้าหรือค�าแนะน�าเหล่านี้ใช้งานเครื่องมือไฟฟ้า
เครื่องมือไฟฟ้าจะเป็นอันตรายเมื่ออยู่ในมือของผู้ที่ไม่
ได้รับการฝึกอบรม
5.
การดูแลรักษาเครื่องมือไฟฟ้า ตรวจสอบการประกอบ
ที่ไม่ถูกต้องหรือการเชื่อมต่อของชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่
การแตกหักของชิ้นส่วน หรือสภาพอื่นๆ ที่อาจส่งผลก
ระทบต่อการท�างานของเครื่องมือไฟฟ้า หากมีความ
เสียหาย ให้น�าเครื่องมือไฟฟ้าไปซ่อมแซมก่อนการใช้
งาน
อุบัติเหตุจ�านวนมากเกิดจากการดูแลรักษาเครื่อง
มือไฟฟ้าอย่างไม่ถูกต้อง
6.
ท�าความสะอาดเครื่องมือตัดและลับให้คมอยู่เสมอ
เครื่องมือการตัดที่มีการดูแลอย่างถูกต้องและมีขอบ
การตัดคมมักจะมีปัญหาติดขัดน้อยและควบคุมได้ง่าย