157
ภาษาไทย
ภาษาไท
ย
การใช้เครื่องปั๊มน้ำนมเมื่อคุณมีอาการนมคัด
คัดตึงเต้านมหมายถึงเต้านมของคุณมีน้ำนมมากเกินไป ซึ่งเป็นภาวะที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดและรู้สึกไม่สบาย การปั๊มนมออกบ่อยๆ
และระบายน้ำนมออกจากเต้าให้หมด จะช่วยลดอาการคัดตึงเต้านมได้ เมื่อคุณมีอาการคัดตึงเต้านม
คุณควรใช้แรงปั๊มระดับต่ำเพื่อลดการยืดของเนื้อเยื่อเต้านม
หมายเหตุ: เมื่อเกิดอาการคัดตึงเต้านม คุณควรปั๊มระบายน้ำนมออกจากเต้าให้หมดในแต่ละรอบการปั๊ม
เมื่อเลิกใช้งาน
1. คลายเกลียวขวดนมออก
2A.
ในการจัดเก็บน้ำนมของคุณ:
ปิดขวดนมด้วยแผ่นปิดฝาเกลีย-
วและฝาเกลียว
1
2
2B.
ในการเตรียมขวดนมสำหรับป้อ-
นลูกน้อยของคุณ:
ใส่จุกนมในฝาเกลียว
และใส่ฝาเกลียวลงบนขวดนม
ปิดจุกนมด้วยฝา (ดู
'การประกอบขวดนม')ขวดนม
3.
ถอดท่อยางซิลิโคนและฝาออกจ-
ากชุดเครื่องปั๊มน้ำนม
4.
ถอดแยกและทำความสะอาดชิ้-
นส่วนทั้งหมดที่ได้สัมผัสกับน้ำ-
นม (ดู
'การทำความสะอาดและการฆ่-
าเชื้อ')
5.
ควรพันท่อยางซิลิโคนไว้รอบๆ
แท่นมอเตอร์และหนีบฝาไว้กับ-
ท่อยาง
เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บ
คำเตือน: แช่น้ำนมที่ปั๊มได้ในตู้เย็นหรือช่องแช่แข็งทันที หรือเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 16-29 °C (60-85 °F)
ไม่เกิน 4 ชั่วโมงก่อนที่คุณจะป้อนนมลูกน้อย
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องปั๊มน้ำนมและคำแนะนำในการปั๊มน้ำนม โปรดเยี่ยมชม www.philips.com/avent